Image
เกี่ยวกับโครงการ About us

ศูนย์วิชาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขกับการสร้างเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน

HAPPY UNIVERSITY ACADEMIC CENTRE TO WARDS SUSTAINABLE HEALTH

มีเป้าประสงค์ สร้างศูนย์วิชาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขไทย เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นหน่วยงานกลางในการประสานงานการสร้างเสริมสุขภาพระหว่างภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัยแห่งความสุข ระดับประเทศและระดับอาเซียน ในปี 2568


โครงสร้างรูปแบบมหาวิทยาลัยแห่งความสุข Structure

      STRUCTURE OF HAPPY UNIVERSITY MODEL
      การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความสุข มีโครงสร้างและรูปแบบประกอบด้วยแนวคิด คือ การมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี (Health & Wellness) แนวปฏิบัติคือ การขับเคลื่อนด้วยระบบปัญญานิเวศ (Wisdom Ecosystem) ที่มีระบบกลไกและเครื่องมือรวมทั้งหลักสูตรเฉพาะทาง โดยมีเป้าหมายชัดเจน เพื่อการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความสุขอย่างยั่งยืน และเพื่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่สืบเนื่อง เป็นมาตรฐานชี้วัดคุณภาพการศึกษา เป็นนโยบายระดับประเทศ เป็นเส้นทางเชื่อมสู่ระดับสากล

แผนการดำเนินงานโครงการฯ Planing
พื้นที่เป้าหมาย Target groups

โครงการศูนย์วิชาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุข
กับการสร้างเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน

Image

กลุ่มพัฒนาการวิจัยระดับแนวหน้าของโลก

กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม

กลุ่มผลิตและพัฒนาบุคลากรวิชาชีพและสาขาจำเพาะ

กลุ่มพัฒนาชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนอื่น

1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2. มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

4. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสุรนารี

7. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

8. มหาวิทยาลัยนเรศวร

9. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

10. มหาวิทยาลัยมหิดล

11. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

12. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

13. มหาวิทยาลัยศิลปากร

14. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

15. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

16. สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์

1. มหาวิทยาลัยทักษิณ

2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

3.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

10. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

11. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

13. มหาวิทยาลัยบูรพา

14. มหาวิทยาลัยแม่โจ้

15. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

16.มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

17. สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา

18. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

1. มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. มหาวิทยาลัยนครพนม

3. มหาวิทยาลัยพะเยา

4. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

5. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

6. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

7. มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

8. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

9. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

10. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

11. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

12. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

13. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

14. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

15. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

16. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

17. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

18. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

19. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

20. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

21. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

22. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

23. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

24. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

25. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

26. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

27. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

28. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์

29. มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีษะเกษ

30. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

31. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

32. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

33. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

34. มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

35. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

36. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

37. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

38. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

39. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

40. สถาบันวิทยาลัยชุมชน

41. มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

1. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2. มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัยเขตพุธมณฑล

1. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

2. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

3. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

4. มหาวิทยาลัยรามคำแหง

5. สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

6. สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

7. สถาบันอาศรมศิลป์

1. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2. มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่

3. มหาวิทยาลัยพายัพ

การวางระบบภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัยแห่งความสุข Instructional Design
  • ขั้นที่ 1 ผู้บริหารทำความรู้จักและทำความเข้าใจในพันธกิจร่วมกัน ร่วมหารือและแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ เพื่อกำหนดเป้าหมายและเป้าประสงค์ให้ตรงกัน จากนั้นกำหนดเป็นนโยบายของแต่ละสถาบัน มียุทธศาสตร์ที่ชัดเจน
  • ขั้นที่ 2 ผู้บริหารร่วมลงนาม MOU จากนั้น ดำเนินตามระบบโครงสร้างบริหารจัดการที่ออกแบบไว้ให้ พร้อมแต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยแห่งความสุข และคณะทำงานมหาวิทยาลัยแห่งความสุข
  • ขั้นที่ 3 นักสร้างสุขจัดกิจกรรม เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในกลุ่มบุคลากรและนิสิตนักศึกษา โดยเข้าสู่กระบวนการตรวจวัดระดับความสุขและคุณภาพชีวิต และกระบวนการพัฒนาความสุขและคุณภาพชีวิตตามหลักสูตรของโครงการ
  • ขั้นที่ 4 ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ สร้างเป็นวัฒนธรรมองค์กร
  • ขั้นที่ 5 ต่อยอดขยายผลกิจกรรมที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และจัดตั้งเป็นแหล่งพื้นที่ดูงานจัดตั้งเป็น ศูนย์เรียนรู้มหาวิทยาลัยแห่งความสุข
  • ขั้นที่ 6 ติดตามประเมิน ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ ด้วย HAPPINOMETER-Productivity
  • ขั้นที่ 7 กำหนดเป็นแผนประจำในแผนพัฒนามหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง ร่วมพัฒนา “เกณฑ์มาตรฐานกลางการประเมินตนเอง” สนับสนุน “เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ” (EdPEx)
  • ขั้นที่ 8 เป็นมหาวิทยาลัยสุขภาวะ (Healthy University) เชื่อมโยงกับการสนับสนุนเครือข่าย AUN-HPN